ความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศ
เอสซีจี มุ่งมั่นตั้งใจดูแลรักษาสมดุลในระบบนิเวศอย่างต่อเนื่อง ด้วยการบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศ ให้สอดคล้องกับการใช้ประโยชน์และการดูแลรักษาของชุมชนอย่างยั่งยืน โดยนำดัชนีชี้วัดที่เป็นสากลมาใช้ประเมินคุณภาพของการ บริหารจัดการ เพื่อให้ SCGP เป็นองค์กรต้นแบบด้านการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศ
อนุรักษ์ความหลากหลาย
ทางชีวภาพเพื่อขยายผล
สู่พื้นที่อื่นๆ
เป้าหมาย
ทางชีวภาพและระบบนิเวศ
FSCTM (License Code FSCTM-C105470 & C012207)
ผลดำเนินงานปี 2566
ทางชีวภาพและระบบนิเวศ
SCGP ตั้งเป้าหมายและดำเนินงานที่สอดคล้องกับ “No gross Deforestation” ตลอด Supply Chain ซึ่งพิจารณาครอบคุลมถึงการดำเนินงานของ SCGP รวมถึง Supplier tier 1 และ Non tier 1 เพื่อเป็นการติดตามการดำเนินงานและให้มั่นใจว่าการดำเนินงานด้านความหลากหลายทางชีวภาพเป็นไปตามกฎหมายและมาตรฐานในประเทศไทยและสากล SCGP จึงมีแนวทางในการติดตามดังนี้
- Internal : จัดตั้ง FSCTM Management Committee เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงานให้สอคล้องกับนโยบาย กลยุทธ์ รวมถึงมาตรฐานด้านป่าไม้และความหลากหลายต่างๆ โดยเฉพาะ มาตรฐาน FSCTM
- External : ในทุกๆ ปี SCGP จะเข้ารับการทวนสอบ (Verification) จาก Third party ดังนี้
2.1 Forestry Research Center : SCGP ถูกตรวจประเมินชนิดพันธุ์ พืช สัตว์ ตามสถานภาพของ ที่ขึ้นทะเบียนของ IUCN Red List (2011) และ สถานภาพตามการจัดของอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ (The Conservation on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora- CITES) เน้นสาระสำคัญของอนุสัญญาเพื่อควบคุมการส่งออกนำเข้า หรือการนำส่งต่อไปเพื่อการค้าซึ่งชนิดพืชและสัตว์ที่ระบุไว้ในบัญชีหมายเลข 1, 2 และ 3 ของอนุสัญญา เพื่อดำเนินการให้สอดคล้องกับกำหนดต่อไป
2.2 FSCTM : SCGP จะเข้ารับการประเมินตั้งแต่รูปแบบการดำเนินงาน และผลการดำเนินงานที่สอดคล้องกับมาตรฐาน FSCTM และร่วมกับชุมชนเพื่อติดตามการดำเนินงานและหามาตรการป้องกันความเสี่ยงจากการดำเนินงาน
SFT is subsidiary of SCGP
GRI EN11: High Biodiversity Value Thailand’s Protected Area
- Wildlife Sanctuaries
- National Parks
- Forest Parks
SCGP ไม่มีพื้นที่ดำเนินการที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพที่สำคัญระดับโลกหรือระดับประเทศ รวมถึงพื้นที่ป่าอนุรักษ์ของประเทศไทย เช่น เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานแห่งชาติ หรือวนอุทยานที่ประกาศโดยกฎหมาย
Sites | Exposure | Assessment | Management Plan | ||||
Site name | BU | Location | Areas(Hectares) | National Reserved Forest | World Heritage areas and IUCN category I-IV Protected area | Baseline study/ Impact Assessment | Mitigation & Monitoring |
Siam Forestry (SFT) | SCGP | Wangsala, Kanjanaburi | 1,886(11,788.5 rai) | No | No | Scope : Agroforestry Area Impact Assessment
|
|
Partner | Cooperation Activity |
Forest Stewardship CouncilTM | - FSCTM สนับสนุนการดำเนินงานด้านป่าไม้ที่ยั่งยืน |
ศูนย์วิจัยป่าไม้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | - สำรวจ ศึกษาวิจัยในระยะยาวเกี่ยวการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศ (Long term Ecological Research) รวมถึงบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Management) |
คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | - สนับสนับผู้เชี่ยวชาญ เกี่ยวกับการบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Management) ร่วมกับบริษัท |
ศูนย์ประสานงานเครือข่ายวิจัยนิเวศวิทยาป่าไม้ประเทศไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | - ติดตามและนำเสนอรายงานศึกษาวิจัยระยะยาวเกี่ยวการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศ เพื่อร่วมกันพัฒนาต่อยอดงานด้าน อนุรักษ์ความหลากหลาย (Long term Ecological Research) |
สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ กรมป่าไม้ | - ส่งเสริมกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรทางธรรมชาติในพื้นที่ไม้เศรษฐกิจ |