ประเด็นการพัฒนาที่ยั่งยืนกับผู้มีส่วนได้เสีย

ประเด็นการพัฒนาที่ยั่งยืน 15 ประเด็นของ SCGP เกี่ยวข้องกับผู้มีส่วนได้เสีย 9 กลุ่ม
และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก (UN SDGs) 17 ข้อ ดังนี้

ประเด็นการพัฒนาที่ยั่งยืน GRI Aspect ขอบเขตของผลกระทบ (Impact Boundary) SDGs
ภายในองค์กร ภายนอกองค์กร
SCGP พนักงาน ผู้ถือหุ้น / ผู้ร่วมทุน / เจ้าหนี้ คู่ธุรกิจ / คู่ค้า ลูกค้า ชุมชน หน่วยงานราชการ สื่อมวลชน ภาคประชาสังคม / นักวิชาการ / ผู้นำความคิด คู่แข่ง
การกํากับดูแลกิจการ

ขอบเขตของความเสี่ยงและโอกาสด้านความยั่งยืน

  • จรรยาบรรณที่ดี
  • ต่อต้าน Corruption
  • การร้องเรียน
  • การบริหารความเสี่ยงและวิกฤต

คุณค่า (Capital Value)

  • จรรยาบรรณและความซื่อสัตย์ (Ethics and Intergrity) ความโปร่งใส (Transparency)
GRI 102 General Disclose (3 Ethic and Integrity, 4 Governance)
สุขภาพและความปลอดภัย

ขอบเขตของความเสี่ยงและโอกาสด้านความยั่งยืน

  • การดูแลพนักงานระหว่างช่วง COVID19
  • การปรับวิธีในการทำงาน
  • การดูแลคู่ธุรกิจ ลููกค้าและชุมชน

คุณค่า (Capital Value)

  • สุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีของพนักงาน คู่ธุรกิจ ลูกค้า และชุมชน
GRI 403: Occupational Health and Safety*
ความรับผิดชอบต่อสินค้าและบริการ

ขอบเขตของความเสี่ยงและโอกาสด้านความยั่งยืน

  • พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความยั่งยืน สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
  • พัฒนาผลิตภัณฑ์ตามหลักการ Life Cycle Assessment
  • สินค้ามีคุณภาพและมีความปลอด

คุณค่า (Capital Value)

  • ผลิตภัณฑ์ที่ใช้งานง่าย แข็งแรง ปลอดภัย และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
  • ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าและผู้บริโภค
-
การสร้างประสบการณ์ของลูกค้า

ขอบเขตของความเสี่ยงและโอกาสด้านความยั่งยืน

  • การพัฒนาเทคโนโลยี และ Solution เพื่อให้ตรงกับความต้องการของลูกค้า
  • บริการอย่างครบวงจร
  • การสื่อสารกับลูกค้า

คุณค่า (Capital Value)

  • ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าและผู้บริโภค
GRI 102 (5. Stakeholder Engagement)
การดูแลผู้มีส่วนได้เสีย

ขอบเขตของความเสี่ยงและโอกาสด้านความยั่งยืน

  • ดำเนินและพัฒนาธุรกิจให้สอดคล้องกับแนวทาง ESG
  • ความคาดหวังและความกังวลของผู้มีส่วนได้เสีย
  • การสื่อสารกับผู้มีส่วนได้เสีย

คุณค่า (Capital Value)

  • ความเชื่อมั่นจากผู้มีส่วนได้เสีย
GRI 102 (5. Stakeholder Engagement)
เศรษฐกิจหมุนเวียน

ขอบเขตของความเสี่ยงและโอกาสด้านความยั่งยืน

  • การดำเนินงานร่วมกับ supply chain
  • การพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับหลักการเศรษฐกิจหมุนเวียน
  • นำนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้กับหลักการเศรษฐกิจหมุนเวียน

คุณค่า (Capital Value)

  • การดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนด้วยหลักการเศรษฐกิจหมุนเวียน
GRI 201: Economic Performance
การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม

ขอบเขตของความเสี่ยงและโอกาสด้านความยั่งยืน

  • การจัดการมลภาวะจากการดำเนินธุรกิจ
  • ป้องกันข้อร้องเรียนจากชุมชน

คุณค่า (Capital Value)

  • มีคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดีทั้งภายในโรงงานและชุมชนโดยรอบ
  • อยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างยั่งยืน
GRI 305: Emission (305-7 Nitrogen Oxides (NOx), Sulfur Oxides (SOx), and other significant air emissions
GRI 306: Effluents and Waste
การสร้างคุณค่าที่ยั่งยืนสู่คู่ธุรกิจ

ขอบเขตของความเสี่ยงและโอกาสด้านความยั่งยืน

  • การดำเนินงานด้านการจัดหาที่ยั่งยืน
  • พัฒนาพนักงานและคู่ธุรกิจให้ดำเนินการร่วมกันอย่างยั่งยืน

คุณค่า (Capital Value)

  • การดำเนินการร่วมกับคู่ธุรกิจที่ยั่งยืน
GRI 102-9 Supply Chain
การพัฒนาพนักงาน

ขอบเขตของความเสี่ยงและโอกาสด้านความยั่งยืน

  • การพัฒนาพนักงานให้มีความรู้ความสามารถ

คุณค่า (Capital Value)

  • พนักงานมีความรู้ ความสามารถรอบด้าน สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
GRI 102 General Disclose (102-8 Information on employees and other workers)
GRI 404 Training and Education
การพัฒนาและมีส่วนร่วมกับชุมชน

ขอบเขตของความเสี่ยงและโอกาสด้านความยั่งยืน

  • ความพึงพอใจของชุมชน
  • การสนับสนุนชุมชนด้านความยั่งยืน

คุณค่า (Capital Value)

  • การอยู่ร่วมกับชุมชนอย่างยั่งยืน
GRI 413: Local Communities
การจัดการน้ำ

ขอบเขตของความเสี่ยงและโอกาสด้านความยั่งยืน

  • บริหารจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
  • บริหารความเสี่ยงด้วยเครื่องมือสากล

คุณค่า (Capital Value)

  • การใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพ
GRI 303: Water*
การรับมือกับการเปลียนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ขอบเขตของความเสี่ยงและโอกาสด้านความยั่งยืน

  • การเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนและพลังงานหมุนเวียน
  • ปรับปรุงประสิทธิภาพเครื่องจักร
  • การพัฒนาสินค้าที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกน้อยลง
  • สร้างโอกาสในการแข่งขันทางการค้า
  • การใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
  • การปลูกป่าเพื่อดูดซับก๊าซเรือนกระจก

คุณค่า (Capital Value)

  • ใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
  • ลดก๊าซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นจากการดำเนินธุรกิจ
GRI 305: Emissions
GRI 302: Energy
สิทธิมนุษยชน

ขอบเขตของความเสี่ยงและโอกาสด้านความยั่งยืน

  • ดำเนินการตามกฎหมายและหลักปฏิบัติสากล
  • การบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน

คุณค่า (Capital Value)

  • ยกระดับคุณภาพชีวิตจากการสร้างคุณค่า อย่างยั่งยืนให้กับผู้มีส่วนได้เสียและสังคม
GRI 412: Human Rights Assessment
การสร้างแรงจูงใจและการรักษาพลังงาน

ขอบเขตของความเสี่ยงและโอกาสด้านความยั่งยืน

  • สร้างความผูกพันของพนักงานกับองค์กร
  • การปรับตัวด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล

คุณค่า (Capital Value)

  • เป็นองค์กรที่มีคุณค่าและใส่ใจพนักงาน
  • พนักงานมีความผูกพันกับองค์กร
GRI 404: Training and Education
ป่าไม้และความหลากหลาย ทางชีวภาพ

ขอบเขตของความเสี่ยงและโอกาสด้านความยั่งยืน

  • บริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพที่ยั่งยืน
  • การจัดการป่าไม้ที่ยั่งยืน

คุณค่า (Capital Value)

  • มีพื้นที่อนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศ
  • มีสวนป่าเศรษฐกิจที่ได้การรับรองตามมาตรฐานการจัดการป่าไม้ที่ยั่งยืน FSCTM
GRI 304: Biodiversity

*GRI Standards 2018